1. | Personal Pronoun | = | บุรุษสรรพนาม |
2. | Possessive Pronoun | = | สรรพนามเจ้าของ |
3. | Definite Pronoun | = | สรรพนามชี้เฉพาะ |
4. | Indefinite Pronoun | = | สรรพนามไม่ชี้เฉพาะ |
5. | Interrogative Pronoun | = | สรรพนามคำถาม |
6. | Relative Pronoun | = | สรรพนามเชื่อมความ |
7. | Reflexive Pronoun | = | สรรพนามสะท้อน |
8. | Distributive Pronoun | = | สรรพนามแจกแจง |
1.personal Pronoun
แปลว่า "บุรุษสรรพนาม" มีไว้สำหรับใช้แทนชื่อจริงของผู้พูด, แทนชื่อจริงของผู้ฟัง และแทนชื่อจริงของบุคคลหรือสัตว์, สิ่งของ ที่เราเอ่ยถึง บุรุษสรรพนามแบ่งออกเป็น 2 พจน์ และ 3 บุรุษ ได้ดังนี้
เอกพจน์ | พหูพจน์ | |||||||||||
|
|
| ||||||||||
|
|
| ||||||||||
|
|
|
นอกจากนี้แล้ว Personal Pronoun ยังแจกออกไปได้อีก 5 รูป ตามหน้าที่การใช้ทางไวยากรณ์คือ
Nominative Case (ใช้เป็นประธาน) | Accusative Case (ใช้เป็นกรรม) | Possessive Adjective (คุณศัพท์เจ้าของ) | Possessive Pronoun (สรรพนามเจ้าของ | Reflexive (เน้น, ย้ำ) |
I | me | my | mine | myself |
We | us | our | ours | ourselves |
You | you | your | yours | yourself, -ves |
He | him | his | his | himself |
She | her | her | hers | herself |
It | it | it | its | itself |
They | them | their | theirs | themselves |
Personal Pronoun รูปที่ 1 ได้แก่ I, We, You, He, She, It และ They ใช้ทำหน้าที่ดังต่อไปนี้
หน้าที่ของ Personal Pronoun
- ใช้ทำหน้าที่เป็นประธาน (Nominative Case) ของกริยาในประโยค เช่น
- I know everything from him.
- ผมรู้ทุกสิ่งจากเขา
- You can speak English better than French.
- คุณพูดภาษาอังกฤษได้ดีกว่าภาษาฝรั่งเศส
- He is ready to start now.
- เขาพร้อมที่จะเริ่มได้เดี๋ยวนี้แล้ว
- They like to play football after class.
- พวกเขาชอบเล่นฟุตบอลหลังจากเลิกเรียน
(I, You, He และ They ทำหน้าที่เป็น Nominative Case ในประโยค) - ใช้ทำหน้าที่เป็นส่วนสมบูรณ์ของกริยา (Subjective Complement) ซึ่งส่วนมากจะวางตามหลัง Verb to be เสมอ เช่น
- If I were he, I wouldn't go there exactly.
- ถ้าผมเป็นเขา ผมจะไม่ไปที่นั่นอย่างเด็ดขาด
- It is I who can speak English here.
- ผมเองเป็นผู้พูดภาษาอังกฤษได้ที่นี่
Personal Pronoun รูปที่ 2 คือ me, us, you, him, her, it และ them ใช้ทำหน้าที่ได้ดังนี้
- ใช้ทำหน้าที่เป็นกรรม (Object) ของกริยาในประโยคได้ เช่น
- Amnat meets me at school every day.
- อำนาจพบกับผมที่โรงเรียนทุกวัน
- We love them very much.
- พวกเรารักเขามากๆ
- The teacher watched us playing football.
- คุณครูดูเราเล่นฟุตบอล
- ใช้ทำหน้าที่เป็นกรรม (object) ของ Preposition ได้ เช่น
- She is very pleased to stay with him.
- หล่อนดีใจมากที่พักอยู่กับเขา
- We pay attention to her alone.
- พวกเราให้ความสนใจเธอคนเดียวเท่านั้น
- My father thought of me a lot when I left him for Bangkok.
- คุณพ่อของฉันคิดถึงฉันมากเมื่อตอนฉันได้จากท่านไปกรุงเทพฯ
- ใช้ทำหน้าที่เป็นประธานของ Infinitive ได้ เช่น
- He asked me to work with him here. (me เป็นประธานของ to work)
- เขาขอร้องผมให้ทำงานอยู่กับเขาที่นี่
- I told her to study English at once. (her เป็นประธานของ to study)
- ผมบอกหล่อนให้รีบเรียนภาษาอังกฤษเอาไว้
แปลว่า "สามีสรรพนาม" หมายถึง สรรพนามที่ใช้แทนนามในกรณีแสดงความเป็นเจ้าของ ถ้ามองให้ลึกซึ้งอย่างถ่องแท้แล้ว Possessive Pronoun ก็มิใช่คำอื่นที่ไหน แท้ที่จริงแล้วก็ได้แก่ Personal Pronoun คือ บุรุษสรรพนาม รูปที่ 4 นั่นเอง ได้แก่
4.Indefinite Pronoun
แปลว่า "อนิยมสรรพนาม" หมายถึง "สรรพนามซึ่งเป็นคำที่ใช้แทนนามได้ทั่วไป โดยมิได้ชี้เฉพาะเจาะจงว่า แทนคนนั้นคนนี้โดยตรง" อนิยมสรรพนามได้แก่คำต่อไปนี้ คือ
some | = | บางคน, บางอย่าง |
any | = | บางคน, บางอย่าง |
none | = | ไม่มีผู้ใด |
all | = | ทั้งหมด |
Someone | = | บางคน |
Something | = | บางสิ่ง |
Somebody | = | บางคน |
anybody | = | บางคน |
anyone | = | บางคน |
few | = | นิดหน่อย |
everyone | = | ทุกคน |
everything | = | ทุกสิ่ง |
many | = | มาก |
nobody | = | ไม่มีใคร |
others | = | อื่นๆ etc. |
คำเหล่านี้เป็น Indefinite Pronoun (อนิยมสรรพนาม) ทั้งนั้น เมื่อนำมาพูดหรือเขียนก็สามารถเป็นได้ทั้งประธานและกรรม เช่น
5.interrogative Pronoun
แปลว่า "ปฤจฉาสรรพนาม" ได้แก่ สรรพนามที่ใช้แทนนามสำหรับคำถาม และต้องไม่มีนามตามหลังด้วย จึงจะถือได้ว่า "เป็นปฤจฉาสรรพนาม" ได้แก่คำต่อไปนี้ คือ who, whom, whose, what, which ซึ่งมีรายละเอียดของการใช้แทนนามเพื่อเป็นคำถามดังต่อไปนี้
Who (ใคร) ใช้ถามถึงบุคคลและเป็นประธานของกริยาในประโยคได้ เช่น
Whom (ใคร) ใช้ถามถึงบุคคล และเป็นกรรมของกริยาหรือบุรพบทได้ทั้งนั้น เช่น
อนึ่ง เรื่องการใช้ whom ที่มาทำหน้าที่เป็นกรรมนี้ ในประโยคสนทนาแบบง่ายๆ เราอาจใช้ who แทนก็ได้ เช่น
Whose (ของใคร) ใช้ถามถึงเจ้าของที่เป็นบุคคล และต้องไม่มีนามตามหลังด้วย เช่น
แต่ถ้า whose นำมาใช้โดยมีนามตามหลัง ก็ทำหน้าที่เป็นคุณศัพท์ของนามตัวนั้นไป มิได้เป็นสรรพนาม เช่น
What (อะไร) เป็นสรรพนามที่ใช้ถามถึงสิ่งของ เป็นได้ทั้งประธานและกรรม เช่น
อนึ่ง What นอกจากใช้ถามถึงสิ่งของแล้ว จะนำมาใช้ถามถึงบุคคลก็ได้ แต่ให้หมายถึง "ถามอาชีพ (Profession), ถามถึงบทบาท (role), ถามถึงสถานภาพ (Status) หรือเชื้อชาติ (nationality)" เท่านั้น เช่น
Which (อันไหน) ใช้ถามถึงสัตว์, สิ่งของ มีความหมายเท่ากับว่า ตัวไหน ? อันไหน ? เป็นได้ทั้งประธานและกรรมเช่น
หมายเหตุ : Which นอกจากจะใช้ถามถึงสัตว์, สิ่งของแล้ว จะนำมาใช้ถามถึงบุคคลก็ได้ ถ้าผู้ถามถามเพื่อให้เลือกเอาจากจำนวน 2 หรือจากจำนวนที่จำกัดไว้ เช่น
อนึ่ง which ถ้าใช้โดยมีนามตามหลังก็เป็นคุณศัพท์ไป (Adjective) มิใช่ ปฤจฉาสรรพนาม เช่น
mine | = | ของผม, ของฉัน | |
ours | = | ของเรา | |
yours | = | ของท่าน | |
his | = | ของเขา | |
hers | = | ของหล่อน | |
its | = | ของมัน | |
theirs | = | ของพวกเขา |
คำเหล่านี้เรียกว่า Possessive Pronoun มีวิธีใช้อยู่ 3 อย่าง คือ
- ใช้เป็นประธานของกริยาในประโยคได้ (Subject of a Verb) แต่ทั้งนี้ต้องมีข้อความอื่นเล่าเรื่องมาก่อน เช่น
- Your friend is Indian, mine is American.
- เพื่อนของคุณเป็นคนอินเดีย ของฉันเป็นคนอเมริกัน
- (mine เป็น Possessive Pronoun มาทำหน้าที่เป็นประธานของ is)
- His brother is a tall boy; but hers is a short one.
- น้องชายของเขาเป็นเด็กรูปร่างสูง แต่ของหล่อนเป็นเด็กเตี้ย
- (hers เป็น Subject ของกริยา is ในประโยค)
- ใช้เป็น Subjective Complement คือ "ส่วนสมบูรณ์ของกริยาในประโยค" และส่วนมากจะเรียงตามหลัง Verb to be เช่น
- This bicycle is mine; that one is yours.
- รถจักรยานคันนี้เป็นของฉัน แต่คันนั้นเป็นของคุณ
- (mine และ yours เป็นสามีสรรพนาม ทำหน้าที่เป็นส่วนสมบูรณ์ของกริยา is)
- This ruler is his; that one is hers.
- ไม้บรรทัดอันนี้เป็นของเขา อันนั้นเป็นของหล่อน
- (his และ hers ทำหน้าที่เป็นส่วนสมบูรณ์ของกริยา is)
- ใช้ เพื่อเน้นความเป็นเจ้าของให้เด่นชัดขึ้น (Double Possessive) แต่ต้องวางหลังบุรพบท of อีกทีหนึ่ง ตามสูตรวลีสำเร็จรูปดังนี้ a + noun + of + Possessive Pronoun เช่น
- a friend of mine = one of my friends
- (เพื่อนคนหนึ่งของฉัน)
- a brother of yours = one of your brothers
- (น้องชายคนหนึ่งของคุณ)
- a pen of hers = one of her pens
- (ปากกาด้ามหนึ่งของหล่อน)
เช่น I met a friend of mine at the theatre yesterday.- ฉันได้พบกับเพื่อนคนหนึ่งของฉันที่โรงละครเมื่อวานนี้
- A pen of hers is very dear.
- ปากกาด้ามหนึ่งของเธอมีราคาแพงมาก
หมายเหตุ : ข้อควรระวังอยู่อย่างหนึ่งเกี่ยวกับ possessive Pronoun ก็คืออย่าให้ไปสับสนกับ Possessive Adjective อันได้แก่ บุรุษสรรพนามรูปที่ 3 คือ my, our, your, his, her, its และ their คำทั้ง 7 นี้ใช้เป็นคุณศัพท์แสดงความเป็นเจ้าของ (ไม่ใช่สรรพนามแสดงความเป็นเจ้าของ) ฉะนั้นทุกครั้งที่ใช้ต้องมีนามตามหลังเสมอ ส่วน Possessive Pronoun ไม่ต้องมีนามตามหลัง ลองดู 2 ประโยคนี้
Possessive Adj. มีนามตามหลังPossessive Pron. ไม่มีนามตามหลังThis is my book. นี้คือปากกาของฉัน This is your car. นี้คือรถยนต์ของท่าน This book is mine. หนังสือเล่มนี้เป็นของฉัน That car is yours. รถยนต์คันนั้นเป็นของท่าน
ตารางเปรียบเทียบ
แปลว่า "นิยมสรรพนาม" ได้แก่ สรรพนามที่ใช้แทนนามในความหมายชี้เฉพาะเจาะจง อย่างไรก็ตาม นิยมสรรพนามที่สำคัญและใช้กันอย่างแพร่หลาย ได้แก่
- This,That, one 3 ตัวนี้ใช้แทนนามที่เป็นเอกพจน์
- These, Those, ones 3 ตัวนี้ใช้แทนนามที่เป็นพหูพจน์
This แปลว่า "นี้" ใช้แทนนามที่เป็นเอกพจน์และสิ่งนั้นต้องอยู่ใกล้ตัวผู้พูดด้วย จึงจะใช้ This ได้ เป็นได้ทั้งประธานและกรรม เช่น
That แปลว่า "นั้น" ใช้แทนนามที่เป็นเอกพจน์และสิ่งนั้นต้องอยู่ห่างไกลผู้พูดจึงจะใช้ That แทนได้ เป็นได้ทั้งประธานและกรรมเช่นกัน เช่น
One ตามความหมายเดิมแปลว่า "หนึ่ง" แต่เมื่อนำมาใช้เป็นนิยมสรรพนาม (Definite Pronoun) แล้ว คำแปลย่อมไม่คงที่ ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับสิ่งที่ one ไปแทน หมายความว่า one ไปแทนนามอะไร ก็ให้แปลเป็นนามตัวนั้นได้เลย และเป็นได้ทั้งประธานและกรรม เช่น
These แปลว่า "เหล่านี้" ใช้แทนนามที่เป็นพหูพจน์และอยู่ใกล้ตัวผู้พูด จึงจะใช้ These แทนได้เป็นได้ทั้งประธานและกรรม เช่น
Those แปลว่า "เหล่านั้น" ใช้แทนนามที่เป็นพหูพจน์และสิ่งนั้นต้องอยู่ห่างไกลจากผู้พูด เป็นได้ทั้งประธานและกรรม เช่น
Ones ตามความหมายเดิมก็ต้องแปลว่า "พวกหนึ่ง, เหล่าหนึ่ง" แต่เมื่อนำมาใช้เป็นนิยมสรรพนาม (Definite Pronoun) แล้ว คำแปลย่อมไม่คงที่เช่นเดียวกับ one รูปเอกพจน์นั่นแหละ เป็นแต่ว่า ones (ที่เติม s) คำนี้ ใช้แทนนามที่เป็นพหูพจน์ เป็นได้ทั้งประธานและกรรม เช่น
ข้อควรสังเกต : นิยมสรรพนาม (Definite Pronoun) ที่กล่าวมาแล้วนี้ มันจะเป็นสรรพนามให้ตามความหมายก็ต่อเมื่อใช้แต่มันลอยๆ โดยไม่มีนามตามหลังเท่านั้น แต่ถ้าวันดีคืนดีนำเอาคำเหล่านี้ไปใช้โดยมีนามอื่นตามหลัง ก็มิได้ทำหน้าที่เป็นนิยมสรรพนาม กลับไปทำหน้าที่เป็นอย่างอื่นคือเป็นคุณศัพท์ (Adjective) ไปเสีย ลองดู 2 ประโยคนี้ประกอบความเข้าใจ
เป็นคุณศัพท์เพราะมีนามตามหลัง | เป็นนิยมสรรพนามเพราะไม่มีนามตามหลัง |
This school is famous. | This is a famous school. |
โรงเรียนนี้มีชื่อเสียง | นี้คือโรงเรียนที่มีชื่อเสียง |
These boys are clever. | There are clever boys. |
เด็กชายเหล่านี้ฉลาด | เหล่านี้คือเด็กที่ฉลาด |
One pupil is in the room. | I can have this one. |
เด็กนักเรียนคนหนึ่งอยู่ในห้อง | ผมสามารถมีสิ่งนี้ได้ |